|
|
 
   
  |
|
ประชากรส่วนใหญ่ในตําบลดงกลาง ประกอบอาชีพเกษตรกรรม ปลูกข้าวเป็นอาชีพหลัก และเป็นแหล่งรายได้หลักของประชาชนในพื้นที่ตำบล นอกจากนี้ก็มีอาชีพ การทำสวน(ส้มโอ มะละกอ มะยงชิด มะม่วง กล้วย) และการปลูกผักสวนครัว ซึ่งมีการเก็บผลผลิต เพื่อการจำหน่ายสำหรับผักสวนครัวเป็นประจำทุกวัน |
|
|
 
   
  |
|
ภูมิประเทศส่วนใหญ่มีสภาพพื้นที่ เป็นที่ราบลุ่ม มีลำคลองและแหล่งน้ำธรรมชาติ พื้นที่ในตำบลในแนวเหนือ-ใต้มีแหล่งน้ำเป็นจำนวนมาก เหมาะสมต่อการทำนาและการเกษตรกรรม ลักษณะการตั้งถิ่นฐานของประชาชนตำบลดงกลาง ส่วนใหญ่มีการตั้งถิ่นฐานแบบรวมกันเป็นกลุ่มๆ บริเวณริมคลองข้าวตอก ทั้งฝั่งตะวันออกและฝั่งตะวันตก และอีกส่วนหนึ่งจะตั้งบ้านเรือนตามริมถนนสายหลักของตำบล คือ ถนนทางหลวงชนบท สายพิจิตร - ดงกลาง - โพธิ์ประทับช้าง |
|
|
|
|
 
   
  |
|
อยู่ภายใต้อิทธิพลของมรสุมเขตร้อน ฤดูร้อนจะอบอ้าว ในฤดูฝนมีฝนตกชุก และฤดูหนาว จะไม่หนาวมากเกินไป อุณหภูมิสูงสุดโดยเฉลี่ย 33.06 องศาเซลเซียส อุณหภูมิต่ำสุดโดยเฉลี่ย 18 องศาเซลเซียส มีปริมาณน้ำฝนโดยเฉลี่ย 4.12 มิลลิลิตร |
|
|
 
   
  |
|

 |
ประชาชนส่วนใหญ่นับถือศาสนาพุทธ |
|
|
|
|
ขนบธรรมเนียม ประเพณี และวัฒนธรรม |
|
 
   
  |
|
ตำบลดงกลางมีงานประเพณีที่ประชาชนส่วนใหญ่ในพื้นที่ จัดกันเป็นประจำ คือ ประเพณีสงกรานต์ ประเพณีลอยกระทง การบวชสามเณรภาคฤดูร้อน การจัดปริวาสกรรม(วัดดงกลาง) ประเพณีการแห่เทียนเข้าพรรษา การทำบุญกลางบ้าน การบวชนาคหมู่ |
|
|
 
   
  |
|

 |
โรงเรียนวัดดงกลาง (ขยายโอกาส) อนุบาล 1 - มัธยมศึกษาปีที่ 3 |

 |
โรงเรียนวัดดงป่าคำ อนุบาล 1 - ประถมศึกษาปีที่ 6 |

 |
หอกระจายข่าวประจำหมู่บ้าน |
จำนวน |
9 |
แห่ง |

 |
ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตรประจำตำบล |
|
|
จำนวน |
1 |
แห่ง |

 |
วิทยาลัยผู้สูงอายุประจำตำบล |
จำนวน |
1 |
แห่ง |
|
|
|
|
|
 
   
  |
|

 |
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล |
จำนวน |
1 |
แห่ง |

 |
ประชากรมีอัตราการใช้ส้วมราดน้ำ ร้อยละ 100 |

 |
มีการจัดตั้ง อ.ส.ม. ทุกหมู่บ้าน |
|
|
|
 
   
  |
|

 |
ตู้โทรศัพท์สาธารณะ |
จำนวน |
2 |
แห่ง |
|
|
|
|
|
 
   
  |
|
ตำบลดงกลางมีแหล่งน้ำธรรมชาติและแหล่งน้ำอุปโภค บริโภค และแหล่งน้ำเพื่อการเกษตร ดังนี้ |
แหล่งน้ำธรรมชาติ ประกอบด้วย |

 |
คลอง |
จำนวน |
1 |
สาย |
|
คือ คลองข้าวตอก |

 |
บึง หนอง ลำห้วย และแหล่งน้ำอื่นๆ |
จำนวน |
13 |
แห่ง |
แหล่งน้ำอุปโภค บริโภค และแหล่งน้ำเพื่อการเกษตร ประกอบด้วย |

 |
ฝาย |
จำนวน |
3 |
แห่ง |

 |
ระบบประปาหมู่บ้าน |
จำนวน |
7 |
แห่ง |

 |
บ่อน้ำบาดาล(บ่อน้ำตื้น) |
จำนวน |
2 |
บ่อ |

 |
บ่อน้ำบาดาล(บ่อโยก) |
จำนวน |
96 |
บ่อ |

 |
ถังเก็บน้ำฝน |
จำนวน |
12 |
ถัง |

 |
คลองส่งน้ำชลประทาน |
จำนวน |
2 |
สาย |

 |
คูส่งน้ำ-ระบายน้ำ (ลำเลียงย่อย) เพื่อการเกษตรร้อยละ 100 ของพื้นที่ชลประทาน |
|
|
|
 
   
  |
|

 |
ปั๊มน้ำมันและก๊าซ |
จำนวน |
5 |
แห่ง |
|
(ปั๊มหลอด ,หยอดเหรียญ) |

 |
โรงสีข้าว |
จำนวน |
2 |
แห่ง |
|
(โรงสีชุมชน ,หมู่บ้าน) |

 |
ร้านค้า |
จำนวน |
25 |
แห่ง |
|
(ร้านค้าขายของชำขนาดเล็ก) |

 |
อู่ซ่อมรถ |
จำนวน |
4 |
แห่ง |
|
|
|
|
|
 
   
  |
|

 |
มีไฟฟ้าใช้ทุกหมู่บ้าน รวม 9 หมู่บ้าน แต่ยังไม่ครบทุกครัวเรือน เนื่องจากการขยายตัวของบ้านเรือนราษฎรแต่ละปี |
|
|
|
 
   
  |
|

 |
มีประปาหมู่บ้าน |
จำนวน |
9 |
หมู่บ้าน |
|
|
|
|